ประมง ปี 2565

ด้านชีวภาพ >> ด้านประมง >> ปี 2565

วัตถุประสงค์ของการศึกษา

            การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ และติดตามการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชาคมปลาและแพลงก์ตอน ตลอดจนการศึกษาศักยภาพภาพการทำประมงและ การเพาะเลี้ยงปลาในกระชังในแม่น้ำโขง เปรียบเทียบในพื้นที่ 8 จังหวัด เพื่อประเมินผลกระทบจากโครงการไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน โดยมุ่งเน้นพื้นที่ที่คาดว่าได้รับผลกระทบสูง รวมทั้งแหล่งประมงที่สำคัญ และแหล่งที่เป็นพื้นที่อ่อนไหวด้านนิเวศวิทยาทางน้ำ จำนวน 2 ฤดูกาล ประจำปี พ.ศ. 2565 ผลการศึกษานี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานและแม่แบบในการกำหนดแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรประมงให้เหมาะสมในแต่ละพื้นที่และเกิดการใช้ทรัพยากรประมงอย่างยั่งยืนต่อไป

 

พื้นที่เป้าหมายในการเก็บตัวอย่างและช่วงเวลาฤดูกาลในการศึกษา

            ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ และติดตามการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชาคมปลาและแพลงก์ตอน ตลอดจนการศึกษาศักยภาพภาพการทำประมงและการเพาะเลี้ยงปลาในกระชังจากอิทธิพลของโครงการไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน โดยมุ่งเน้นพื้นที่ที่คาดว่าได้รับผลกระทบสูง วางแผนการวิจัยแบบ Special and Temporal Random Design โดยแบ่งจุดพื้นที่สำรวจออกเป็น 8 จังหวัด ตามลักษณะพื้นที่และนิเวศวิทยาของแหล่งน้ำ โดยสุ่มรวบรวมข้อมูลใน 2 ฤดูกาล จำนวนฤดูกาลละ 1 ครั้ง คือ ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด (กันยายน – ตุลาคม พ.ศ. 2565): A1 และฤดูน้ำแล้ง (กุมภาพันธ์ –มีนาคม พ.ศ. 2566): A2 โดยพื้นที่เก็บตัวอย่าง ได้แก่ เชียงราย เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี กำหนดพิกัดทางภูมิศาสตร์ด้วยเครื่องจีพีเอสรุ่น Garmin V. map 76CSx กำหนดจุดเก็บตัวอย่างเพื่อให้เป็นตัวแทนของทั้งพื้นที่ในหน่วยพิกัดแบบ UTM (WGS84) เพื่อให้ได้ตัวอย่างสัตว์น้ำที่ต้องการศึกษาครอบคลุมพื้นที่ให้มากที่สุด แสดงดัง ตารางที่ 1 และรูปจุดเก็บตัวอย่าง แสดงดังรูปที่ 1

ตารางที่ 1 จุดเก็บตัวอย่างปลาและแพลงก์ตอนในภาคสนาม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ลำดับ วันที่ จุดเก็บตัวอย่าง ประมง จังหวัด พิกัดทางภูมิศาสตร์ ลักษณะพื้นที่ของแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ (Habitat Type)
Latitude Longitude
1 2-3 ตุลาคม 2565

25-27 กุมภาพันธ์ 2566

บ้านห้วยเกี๋ยง        ตำบลเวียง             อำเภอเชียงแสน เชียงราย 20.310224 100.092974 ลำน้ำกว้าง มีพนังกั้นตลิ่ง จึงมีก้อนหินจากพนังบริเวณริมฝั่ง ดินเป็นดินเหนียวปนโคลน
2* 24-25 กันยายน 2565

18-19 มีนาคม 2566

บ้านเชียงคาน         ตำบลเชียงคาน

อำเภอเชียงคาน

เลย 17.892795 101.645647 พื้นที่เป็นเกาะแก่ง เป็นแอ่งน้ำขัง    มีหาดทรายละเอียด มีหญ้าและพันธุ์ไม้ขึ้นตามดอนและเกาะ
3 23-24 กันยายน 2565

17-18 มีนาคม 2566

บ้านภูเขาทองตำบลบ้านม่วงอำเภอสังคม หนองคาย 18.206974 102.141350 พื้นที่เป็นดอน เกาะแก่ง โขดหิน  มีหาดทรายและแอ่งน้ำขัง มีหญ้าและพันธุ์ไม้ขึ้นตามดอนและเกาะ
4 18-19 กันยายน 2565

18-19 กุมภาพันธ์ 2566

บ้านบุ่งคล้า   ตำบลบุ่งคล้า อำเภอบุ่งคล้า บึงกาฬ 18.291760 104.001311 พื้นที่เป็นเกาะกลางน้ำ มีหญ้าขึ้นริมฝั่งและบนเกาะ ดินเป็นโคลนปนทราย มีหาดและร่องน้ำบางส่วน
5 17-18 กันยายน 2565

17-18 กุมภาพันธ์ 2566

ปากแม่น้ำสงครามตำบลไชยบุรี      อำเภอท่าอุเทน นครพนม 17.653179 104.464328 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นตลิ่งสูง ริมฝั่ง   มีน้ำลึก มีพันธุ์ไม้และหญ้าขึ้นบริเวณริมฝั่ง บางช่วงมี พนังกั้นตลิ่งทั้งที่กำลังก่อสร้างและสร้างหลายปีแล้ว บางช่วงมีการเพาะเลี้ยงปลาในกระชัง
6 11-12 กันยายน 2565

12-13 กุมภาพันธ์ 2566

บ้านท่าไคร้-นาแล ตำบลนาสีนวน      อำเภอเมือง มุกดาหาร 16.445392 104.845704 พื้นที่เป็นตลิ่งสูง ริมฝั่งน้ำลึก มีโขดหิน มีพันธุ์ไม้และหญ้าขึ้นตามริมตลิ่ง มีร่องน้ำลึก บางช่วงมีท่าดูดทราย มีพนังกั้นตลิ่งทั้งที่กำลังก่อสร้างและสร้างหลายปีแล้ว
7 10-11 กันยายน 2565

11-12 กุมภาพันธ์ 2566

บ้านโคกสาร    ตำบลโคกสาร อำเภอชานุมาน อำนาจเจริญ 16.118216 105.038195 ลำน้ำกว้าง มีแม่น้ำสาขา มีเกาะกลางน้ำขนาดใหญ่ มีร่องน้ำลึก   และโขดหินขนาดใหญ่ ตลิ่งชันสูงมีพันธุ์ไม้และหญ้าขึ้นริมฝั่ง     ตลอดแนว มีท่าดูดทราย
8 9-10 กันยายน 2565

10-11 กุมภาพันธ์ 2566

หาดชมดาว บ้านนาตาล ตำบลนาตาล    อำเภอนาตาล อุบลราชธานี 15.907450 105.341432 ลำน้ำกว้าง เป็นเกาะแก่งและโขดหินขนาดใหญ่ มีหาดทรายในช่วงน้ำลด มีพันธุ์ไม้และหญ้าขึ้นตามเกาะแก่งและริมตลิ่ง ดินเป็นโคลนปนทราย

หมายเหตุ * พื้นที่เก็บตัวอย่าง จังหวัดเลย เปลี่ยนจากบ้านห้วยเหียม ตำบลหาดคัมภีร์ อำเภอปากชม เป็นบ้านเชียงคาน ตำบลเชียงคาน อำเภอเชียงคาน

 

ตารางที่  2 แผนการดำเนินงานการออกเก็บข้อมูลภาคสนามการลงพื้นที่ทำประมงโดยใช้อวนทับตลิ่ง ปี พ.ศ. 2565

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด (กันยายน – ตุลาคม 2565) ฤดูน้ำแล้ง (มกราคม – กุมภาพันธ์ 2566)
เชียงรา 1-3 ตุลาคม 2565 นครพนม 17-18 กันยายน 2565 เชียงราย 25-27 กุมภาพันธ์ 2566 นครพนม 17-18 กุมภาพันธ์ 2566
เลย 24-25 กันยายน 2565 มุกดาหาร 11-12 กันยายน 2565 เลย 18-19 มีนาคม 2566 มุกดาหาร 12-13 กุมภาพันธ์ 2566
หนองคาย 23-24 กันยายน 2565 อำนาจเจริญ 10-11 กันยายน 2565 หนองคาย 17-18 มีนาคม 2566 อำนาจเจริญ 11-12 กุมภาพันธ์ 2566
บึงกาฬ 18-19 กันยายน 2565 อุบลราชธานี 9-10 กันยายน 2565 บึงกาฬ 18-19 กุมภาพันธ์ 2566 อุบลราชธานี 10-11 กุมภาพันธ์ 2566

 


รูปที่ 1 แผนที่แสดงพื้นที่สำรวจความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชและสัตว์ การศึกษาด้วยอวนทับตลิ่งและการสำรวจลูกปลาวัยอ่อนในแม่น้ำโขงสายประธาน

รูปที่ 2 แผนที่แสดงพื้นที่สำรวจตลาด ท่าขึ้นปลา และการสัมภาษณ์ในแม่น้ำโขงสายประธาน

 

ตารางที่  3 การสำรวจตลาด ในพื้นที่ 8 จังหวัดริมแม่น้ำโขง

ลำดับ

ชื่อตลาด อำเภอ จังหวัด พิกัด
Latitude

Longitude

1 ตลาดสดเทศบาลอำเภอเชียงของ เชียงของ เชียงราย 20.256817 100.405768
2 ตลาดสดประตูชัย เชียงของ เชียงราย 20.258582 100.407192
3 ตลาดประชารัฐหล่ายงาว เวียงแก่น เชียงราย 20.104087 100.508983
4 ร้านอาหารแก่งผาได เวียงแก่น เชียงราย 20.168133 100.576912
5 ตลาดสินสมบูรณ์ เชียงแสน เชียงราย 20.274018 100.086729
6 ร้านขายปลาบ้านเชียงแสนน้อย เชียงแสน เชียงราย 20.236766 100.125621
7 แพปลาบ้านสบรวก เชียงแสน เชียงราย 20.348585 100.083226
8 ท่าขึ้นปลาแก่งคุดคู้ เชียงคาน เลย 17.908769 101.700703
9 ตลาดสดเทศบาลตำบลเชียงคาน เชียงคาน เลย 17.892367 101.855197
10 ตลาดสดปากชม ปากชม เลย 18.023814 101.884967
11 ร้านรับซื้อปลาบ้านหนอง สังคม เลย 18.207372 102.128432
12 ร้านขายปลาบ้านหนอง สังคม เลย 18.207408 102.128574
13 ร้านขายปลา ป้าอี๊ดปลาแม่น้ำโขง สังคม หนองคาย 18.067463 102.269661
14 ร้านขายปลา ป้าสอนปลาแม่น้ำโขง สังคม หนองคาย 18.067488 102.269749
15 ตลาดสดเทศบาลศรีเชียงใหม่ ศรีเชียงใหม่ หนองคาย 17.956718 102.584778
16 ตลาดสดเทศบาลเมืองท่าบ่อ ท่าบ่อ หนองคาย 17.847752 102.580695
17 ร้านขายปลาบ้านพ่อดำ เมืองหนองคาย หนองคาย 17.936960 102.608546
18 ตลาดสดโพธิ์ชัย เมืองหนองคาย หนองคาย 17.884716 102.756407
16 ตลาดสดโพนพิสัย โพนพิสัย หนองคาย 18.023656 103.081679
20 บ้านรับซื้อปลาพ่อเสถียร โพนพิสัย หนองคาย 18.068883 103.077290
21 ตลาดนัดไทย-ลาว ปากคาด ปากคาด บึงกาฬ 18.306947 103.300865
22 ตลาดสดอำเภอปากคาด ปากคาด บึงกาฬ 18.305873 103.303392
23 ตลาดสดเทศบาลเมืองบึงกาฬ เมืองบึงกาฬ บึงกาฬ 18.365198 103.653140
24 ตลาดสดชัยพร เมืองบึงกาฬ บึงกาฬ 18.275834 103.854329
25 ท่าขึ้นปลาบ้านพ่อธงชัย บุ่งคล้า บึงกาฬ 18.287446 104.003543
26 ตลาดสดบุ่งคล้า บุ่งคล้า บึงกาฬ 18.296157 103.993829
27 ตลาดสดบ้านแพง บ้านแพง นครพนม 17.960453 104.217769
28 ตลาดสดท่าอุเทน ท่าอุเทน นครพนม 17.573509 104.601939
29 ตลาดสดเทศบาลเมืองนครพนม เมืองนครพนม นครพนม 17.400467 104.783439
30 ตลาดสดเทศบาลธาตุพนม ธาตุพนม นครพนม 16.941141 104.725671
31 ตลาดสดวัฒนธรรมพรเพชร เมืองมุกดาหาร มุกดาหาร 16.531700 104.731673
32 บ้านที่รับซื้อปลา (บ้านท่าไค้-นาแล) เมืองมุกดาหาร มุกดาหาร 16.262810 104.510130
33 ตลาดสดเทศบาลตำบลดอนตาล ดอนตาล มุกดาหาร 16.315436 104.920212
34 บ้านที่รับซื้อปลาบ้านสองคอนเหนือ หว้านใหญ่ มุกดาหาร 16.781609 104.737545
35 บ้านที่รับซื้อปลาบ้านป่งขาม หว้านใหญ่ มุกดาหาร 16.758527 104.744033
36 บ้านที่รับซื้อปลาบ้านพ่อธนากร ชานุมาน อำนาจเจริญ 16.266694 104.987547
37 ตลาดสดเทศบาลชานุมาน ชานุมาน อำนาจเจริญ 16.227848 105.004473
38 ท่าขึ้นปลาบ้านนาสีดา ชานุมาน อำนาจเจริญ 16.267263 104.988741
39 ตลาดสดตำบลโคกสารท่า ชานุมาน อำนาจเจริญ 16.162665 105.010145
40 ตลาดสดเทศบาลเขมราฐ เขมราฐ อุบลราชธานี 16.040932 105.221972
41 ตลาดดอกจาน เขมราฐ อุบลราชธานี 16.042538 105.226957
42 ตลาดสี่แยกโนนเจริญ นาตาล อุบลราชธานี 15.897575 105.292772
43 กองทุนปลาบ้านภูผาชัน โพธิ์ไทร อุบลราชธานี 15.703132 105.447530
44 ตลาดสดศรีเมืองใหม่ ศรีเมืองใหม่ อุบลราชธานี 15.496853 105.276491
45 ตลาดสดเทศบาลตำบลบ้านด่าน โขงเจียม อุบลราชธานี 15.317983 105.491503

 

 

ผลการศึกษาด้านประมง

            1) การศึกษาองค์ประกอบชนิดของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ ในแม่น้ำโขงทั้ง 8 จังหวัด  จะเห็นว่ายังมีชนิดและปริมาณที่หลากหลาย โดยพบกลุ่มไดอะตอมเป็นชนิดเด่น สามารถใช้เป็นดัชนีชีวภาพ ที่สำคัญความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน้ำ ดังรายละเอียดในตารางที่ 1 – 4

ตารางที่ 4 ผลการศึกษาความหลากชนิดของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ ปี พ.ศ. 2563 – 2565

สถานีเก็บตัวอย่าง

จำนวนชนิดของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ในแม่น้ำโขง

แพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton)

แพลงก์ตอนสัตว์ (Zooplankton)

S1

S2 S3 T1 T2 A1 A2 S1 S2 S3 T1 T2 A1

A2

จังหวัดเชียงราย 14 14 16 30 25 15 14 1 1 7 42 28 4 20
จังหวัดเลย 14 14 11 36 25 16 13 4 3 7 34 21 3 20
จังหวัดหนองคาย 13 13 12 34 36 19 17 1 3 6 32 34 5 19
จังหวัดบึงกาฬ 12 12 13 26 34 18 10 1 1 2 25 31 3 20
จังหวัดนครพนม 10 10 15 34 32 26 24 3 1 0 34 32 0 21
จังหวัดมุกดาหาร 9 9 14 31 38 19 13 1 3 1 34 46 4 20
จังหวัดอำนาจเจริญ 14 14 15 28 27 11 16 3 3 1 25 28 3 23
จังหวัดอุบลราชธานี 9 9 9 31 33 20 22 1 3 8 21 35 3 22

หมายเหตุ : S1, S2 และ S3 หมายถึง การเก็บตัวอย่างในฤดูกาลที่ 1, 2 และ 3 ในปี พ.ศ. 2563

T1 และ T2 หมายถึง การเก็บตัวอย่างในฤดูกาลที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2564

A1 และ A2 หมายถึง การเก็บตัวอย่างในฤดูกาลที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2565

รวม64 หมายถึง รวมชนิดของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์สัตว์ ในปี พ.ศ. 2564

 

ตารางที่ 5 ผลการศึกษาปริมาณความหนาแน่นเฉลี่ยของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ ปี พ.ศ. 2563 – 2565

สถานีเก็บตัวอย่าง

ปริมาณความหนาแน่นเฉลี่ยของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ในแม่น้ำโขง

แพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton)

แพลงก์ตอนสัตว์ (Zooplankton)

S1 S2 S3 T1 T2 A1 A2 S1 S2 S3 T1 T2 A1

A2

จังหวัดเชียงราย 22.22 19.26 17.03 514.28 1330.48 14.94 19.62 2.59 1.11 0.77 13.36 11.64 3.50 39.00
จังหวัดเลย 39.63 150 24.48 672.36 603.77 24.41 22.14 3.70 3.70 2.33 8.98 15.35 4.17 37.23
จังหวัดหนองคาย 7.41 78.89 43.74 421.56 1119.20 8.58 18.23 6.67 6.67 4.18 8.86 12.22 3.83 45.00
จังหวัดบึงกาฬ 53.33 37.41 21.22 583.81 1346.23 9.89 23.67 2.22 1.85 0.40 16.10 10.98 3.16 50.00
จังหวัดนครพนม 78.89 120.46 9.11 458.41 1097.53 16.58 24.53 2.96 6.30 0.00 12.26 8.68 2.58 16.43
จังหวัดมุกดาหาร 44.56 24.54 19.25 965.18 1159.85 39.72 36.64 0.37 2.96 0.07 15.32 7.68 5.67 14.16
จังหวัดอำนาจเจริญ 151.48 152.59 39.25 1883.01 546.53 12.65 20.69 2.96 1.28 0.07 12.30 14.02 1.91 15.73
จังหวัดอุบลราชธานี 12.96 66.30 18.25 2155.16 914.94 15.38 32.41 0.37 1.28 7.51 11.48 9.22 2.91 34.23

หมายเหตุ : S1, S2 และ S3 หมายถึง การเก็บตัวอย่างในฤดูกาลที่ 1, 2 และ 3 ในปี พ.ศ. 2563

T1 และ T2 หมายถึง การเก็บตัวอย่างในฤดูกาลที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2564

A1 และ A2 หมายถึง การเก็บตัวอย่างในฤดูกาลที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2565

 

ตารางที่ 6 ผลการศึกษาค่าดัชนีความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ ปี พ.ศ. 2563 – 2565

สถานีเก็บตัวอย่าง

ค่าดัชนีความหลากหลาย (Diversity Index) ของแพลงก์ตอนในแม่น้ำโขง
แพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton)

แพลงก์ตอนสัตว์ (Zooplankton)

S1

S2 S3 T1 T2 A1 A2 S1 S2 S3 T1 T2 A1

A2

จังหวัดเชียงราย 1.95 2.53 2.15 2.08 2.09 1.66 1.97 0.00 0.00 1.77 2.58 2.21 1.33 1.78
จังหวัดเลย 1.10 1.57 1.76 2.07 2.15 1.88 2.11 1.09 1.09 1.45 2.73 1.82 1.05 1.91
จังหวัดหนองคาย 1.19 1.68 2.25 2.24 2.30 2.02 2.26 0.00 0.00 1.07 2.39 2.38 1.56 1.97
จังหวัดบึงกาฬ 1.69 2.20 2.14 1.95 2.29 2.04 2.49 0.00 0.00 0.30 2.07 1.99 0.69 2.08
จังหวัดนครพนม 1.73 1.55 2.02 2.32 2.17 2.17 2.78 0.97 0.00 0.00 2.43 2.40 0.00 1.62
จังหวัดมุกดาหาร 1.93 1.88 1.44 2.12 2.12 2.71 2.69 0.00 0.97 0.00 2.54 2.51 1.39 1.72
จังหวัดอำนาจเจริญ 1.95 2.12 2.11 1.06 2.04 2.31 2.53 1.08 0.94 0.00 2.39 1.87 1.01 1.59
จังหวัดอุบลราชธานี 2.03 1.56 1.44 1.07 2.32 2.13 1.98 0.00 0.94 1.51 1.94 2.36 1.10 1.87

หมายเหตุ : S1, S2 และ S3 หมายถึง การเก็บตัวอย่างในฤดูกาลที่ 1, 2 และ 3 ในปี พ.ศ. 2563

T1 และ T2 หมายถึง การเก็บตัวอย่างในฤดูกาลที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2564

A1 และ A2 หมายถึง การเก็บตัวอย่างในฤดูกาลที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2565

 

ตารางที่ 7 ผลการศึกษาดัชนีความเท่าเทียมของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ ปี พ.ศ. 2563 – 2565

สถานีเก็บตัวอย่าง

ค่าดัชนีความเท่าเทียม (Evenness Index) ของแพลงก์ตอนในแม่น้ำโขง
แพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton)

แพลงก์ตอนสัตว์ (Zooplankton)

S1

S2 S3 T1 T2 A1 A2 S1 S2 S3 T1 T2 A1

A2

จังหวัดเชียงราย 0.94 0.96 0.77 0.67 0.71 0.65 0.75 0.00 0.00 0.91 0.69 0.65 0.96 1.00
จังหวัดเลย 0.61 0.60 0.73 0.82 0.72 0.66 0.64 0.79 0.79 0.74 0.76 0.59 0.96 0.99
จังหวัดหนองคาย 0.86 0.65 0.72 0.78 0.72 0.67 0.79 0.00 0.00 0.59 0.68 0.68 0.97 1.00
จังหวัดบึงกาฬ 0.81 0.89 0.83 0.70 0.64 0.68 0.82 0.00 0.00 0.43 0.64 0.57 1.00 1.00
จังหวัดนครพนม 0.70 0.67 0.74 0.77 0.66 0.66 0.91 0.89 0.00 0.00 0.69 0.69 0.00 0.83
จังหวัดมุกดาหาร 0.81 0.86 0.54 0.27 0.68 0.92 0.67 0.00 0.89 0.00 0.72 0.65 1.00 0.78
จังหวัดอำนาจเจริญ 0.81 0.80 0.78 0.50 0.59 0.96 0.89 0.99 0.86 0.00 0.74 0.56 0.92 0.76
จังหวัดอุบลราชธานี 0.93 0.71 0.65 0.45 0.70 0.70 0.97 0.00 0.86 0.72 0.62 0.66 1.00 0.86

หมายเหตุ : S1, S2 และ S3 หมายถึง การเก็บตัวอย่างในฤดูกาลที่ 1, 2 และ 3 ในปี พ.ศ. 2563

T1 และ T2 หมายถึง การเก็บตัวอย่างในฤดูกาลที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2564

A1 และ A2 หมายถึง การเก็บตัวอย่างในฤดูกาลที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2565

 

            2) การศึกษาชนิดและความหลากหลายประชาคมของปลาเต็มวัย ภายใต้โครงการศึกษาผลกระทบและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนจากโครงการไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน ประจำปี พ.ศ. 2565 พบปลาจำนวนทั้งสิ้น 29 วงศ์ 95 สกุล 168 ชนิด เป็นปลาพื้นถิ่น จำนวน 159 ชนิด และปลาต่างถิ่นหรือปลาที่เกิดจากการผสมข้ามสายพันธุ์หรือปลาที่ได้จากการเพาะเลี้ยง เช่น ปลาบึก (Pangasianodon gigas) จำนวน 9 ชนิด โดยพบกลุ่มปลาขาวมีจำนวน 82 ชนิด กลุ่มปลาเทามีจำนวน 57 ชนิด และกลุ่มปลาดำมีจำนวน 29 ชนิด เมื่อเปรียบเทียบปลาทั้ง 3 กลุ่มระหว่างปี พ.ศ. 2561-2564 พบว่าจำนวนชนิดของปลาขาว ปลาเทา และปลาดำ ไม่มีความแตกต่างกัน ผลจากการศึกษาครั้งนี้นับเป็นข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญในการใช้เป็นดัชนีชีวภาพเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของความหลากชนิดของปลาในแม่น้ำโขงในปีงบประมาณต่อ ๆ ไปได้

 

ตารางที่ 8 จำนวนชนิดของปลา (Fishes Species) จากการสำรวจด้วยอวนทับตลิ่ง การสำรวจตลาดและกลุ่มชาวประมงท้องถิ่น ปี พ.ศ. 2563-2565

พื้นที่ โครงการปี พ.ศ. 2563 โครงการปี พ.ศ. 2564 โครงการปี พ.ศ. 2565
ฤดูน้ำหลาก

(ก.ย – ต.ค. 2563)

ฤดูแล้ง-น้ำกำลังลง

(พ.ย. – ธ.ค. 2563)

ฤดูแล้ง-น้ำลงต่ำสุด

(ม.ค. – ก.พ. 2564)

ฤดูน้ำกำลังขึ้น

(มิ.ย. – ก.ค. 2564)

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด

(ก.ย. – ต.ค. 2564)

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด

(ก.ย. – ต.ค. 2565)

ฤดูน้ำแล้ง

(ก.พ. – มี.ค. 2566)

อวนทับตลิ่ง ตลาดและกลุ่มประมง อวนทับ

ตลิ่ง

ตลาดและกลุ่มประมง อวนทับ

ตลิ่ง

ตลาดและกลุ่มประมง อวนทับตลิ่ง ตลาดและกลุ่มประมง อวนทับ

ตลิ่ง

ตลาดและกลุ่มประมง อวนทับตลิ่ง ตลาดและกลุ่มประมง อวนทับตลิ่ง ตลาดและกลุ่มประมง
บ้านห้วยเกี๋ยง ต.เวียง อ.เชียงแสน เชียงราย 24 7 19 9 23 17 27 20 23 40 23 26 6 35
บ้านห้วยเหียม ต.หาดคัมภีร์ อ.ปากชม เลย 15 17 17 22 25 19 16 6 36 21 27 3 17 39
บ้านภูเขาทอง ต.บ้านม่วง อ.สังคม หนองคาย 10 9 24 9 34 4 14 16 18 14 15 20 18 36
บ้านบุ่งคล้า ต.บุ่งคล้า อ.บุ่งคล้า บึงกาฬ 31 8 37 6 15 18 20 7 42 13 50 32 21 3
ปากแม่น้ำสงคราม ต.ไชยบุรี อ.ท่าอุเทน นครพนม 16 8 36 31 37 28 21 18 36 14 20 18 20 32
บ้านท่าไคร้-นาแล ต.นาสีนวน อ.เมืองมุกดาหาร มุกดาหาร 32 10 12 26 23 25 29 16 49 11 33 28 27 17
ปากแม่น้ำถม ต.โคกก่ง อ.ชานุมาน อำนาจเจริญ 13 12 9 3 9 12 27 16 26 4 25 4 11 20
หาดชมดาว บ้านนาตาล ต.นาตาล

อ.นาตาล

อุบลราชธานี 35 21 32 43 18 44 24 33 43 16 41 38 9 63
  86 ชนิด 121 ชนิด 117 ชนิด 110 ชนิด 134 ชนิด 137 ชนิด 129 ชนิด
รวมจำนวนปลาทั้งหมด 170 ชนิด 157 ชนิด 168 ชนิด

 

ตารางที่ 9 จำนวนชนิดปลาแต่ละกลุ่มจากการสำรวจที่ดำเนินงานภายใต้โครงการฯ ปี พ.ศ. 2561-2565

 

จำนวนชนิดปลา

โครงการปี พ.ศ. 2561

โครงการปี พ.ศ. 2563 โครงการปี พ.ศ. 2564

โครงการปี พ.ศ. 2565

ครั้งที่ 1

น้ำลง

ครั้งที่ 2

น้ำเริ่มขึ้น

รวม

2 ครั้ง

ครั้งที่ 1

น้ำหลาก

ครั้งที่ 2

ฤดูแล้ง – น้ำกำลังลง

ครั้งที่ 3

ฤดูแล้ง – น้ำลงต่ำสุด

รวม

3 ครั้ง

ครั้งที่ 1

น้ำกำลังขึ้น

ครั้งที่ 2

น้ำขึ้นสูงสุด

รวม

2 ครั้ง

ครั้งที่ 1

น้ำขึ้นสูงสุด

ครั้งที่ 2

น้ำแล้ง

รวม

2 ครั้ง

ชนิดปลาที่พบทั้งหมด 129 132 163 86 121 117 170 110 134 157 137 129 168
จำนวนปลาที่กินได้และมีประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 144 99 130 71 36 65 112 56 70 84 85 113 135
ประเภทการอพยพ      
กลุ่มปลาขาว (White Fish) 25 26 78 22 29 28 80 58 63 76 66 64 82
กลุ่มปลาเทา (Grey Fish) 26 23 55 17 25 25 62 36 46 52 49 44 57
กลุ่มปลาดำ (Black Fish) 13 13 30 8 13 9 28 16 25 29 22 21 29
ยังไม่สามารถระบุได้ * 65 70 39 54 55
สถานภาพตาม IUCN redlist      
ขั้นวิกฤติต่อการสูญพันธุ์ (Critically Endangered: CR) 3 2 3 1 3 2 3 4 3 4 3 1 3
ใกล้สูญพันธุ์ (Endangerd: EN) 1 2 2 2 2 2 2 2 3 3 3
เกือบอยู่ในข่ายใกล้สูญพันธุ์ (Vulnerable: VU) 6 9 9 3 7 8 12 6 6 9 9 7 9
เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ (Near Threatened: NT) 4 6 7 5 4 5 7 5 6 7 8 7 9
มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์ (Least Concern: LC) 92 96 115 66 85 80 118 79 102 115 100 98 122
ข้อมูลไม่เพียงพอ (Data Deficient: DD) 10 10 12 5 10 8 10 6 6 7 11 10 17
ยังไม่ได้รับการประเมิน (Not Evaluated: NE) 11 4 12 4 5 6 9 8 9 13 3 3 5
ไม่มีในฐานข้อมูล** 2 3 3 2 7 6 9
จำนวนปลาต่างถิ่น 2 5 6 2 4 4 5 10 6 10 5 5 5

 หมายเหตุ: โครงการฯ ปี  พ.ศ. 2561  :  เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2562 คือ ช่วงน้ำเริ่มขึ้น, เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 คือ ช่วงน้ำเริ่มลง

              โครงการฯ ปี  พ.ศ. 2563  :  เดือนกันยายนและตุลาคม คือ ช่วงน้ำหลาก, เดือนพฤศจิกายนและธันวาคม คือ ช่วงฤดูแล้ง-น้ำกำลังลง, เดือนมกราคมและกุมภาพันธ์  คือ ช่วงฤดูแล้ง-น้ำลงต่ำสุด

              โครงการฯ ปี  พ.ศ. 2564  :  เดือนมิถุนายนและกรกฎาคม คือ ช่วงน้ำกำลังขึ้น, เดือนสิงหาคมและกันยายน คือ ช่วงน้ำขึ้นสูงสุด

              โครงการฯ ปี  พ.ศ. 2565  :  เดือนกันยายนและตุลาคม คือ ช่วงน้ำขึ้นสูงสุด, เดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 คือ ช่วงน้ำแล้ง

* อยู่นอกเหนือรายการตามเอกสาร MRC Technical No.8

** ที่มาจาก www.fishbase.de  

***ที่มาจาก  https://www.iucnredlist.org ระหว่างปี 2007-2020

 

           3) การศึกษาโครงสร้างของประชากรปลา  ในพื้นที่ ทั้ง 8 จังหวัด ยังพบการแพร่กระจาย องค์ประกอบของปลา และโอกาสในการพบที่หลากหลายแตกต่างกันตามช่วงฤดูกาลและพื้นที่ที่ทำการศึกษา ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงความหลากชนิดพันธุ์ของสัตว์น้ำและสามารถบ่งชี้ให้เห็นถึงสภาพทางนิเวศวิทยาของแม่น้ำโขงได้

ตารางที่ 10 ประเภทการกินอาหารของปลาในแม่น้ำโขง ปี พ.ศ. 2559-2565

ประเภทการกินอาหาร ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2563 ปี พ.ศ. 2564 ปี พ.ศ. 2565
Herbivorous 18 20 23 25 16 23
Omnivorous 37 35 34 35 35 38
Carnivorous 101 109 106 110 106 107
รวม 156 164 163 170 157 168

หมายเหตุ:

Herbivorous ปลาที่กินจำพวกพืช
Omnivorous ปลาที่กินจำพวกพืชและสัตว์
Carnivorous ปลาที่กินจำพวกสัตว์

         4) การศึกษาค่าดัชนีทางนิเวศวิทยา  พบว่า ค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ ดัชนีความเท่าเทียม ดัชนีความมากชนิดของปลา ความอุดมสมบูรณ์ของปลา และความชุกชุมของปลามีความแตกต่างกันตามช่วงฤดูกาลและพื้นที่ที่ทำการศึกษาบ่งชี้ให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงสภาพทางนิเวศวิทยาของแม่น้ำโขงได้

ตารางที่ 11 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์น้ำ ปี พ.ศ. 2563-2565

พื้นที่ โครงการปี พ.ศ. 2563 โครงการปี พ.ศ. 2564 โครงการปี พ.ศ. 2565
ฤดูน้ำหลาก

(ก.ย – ต.ค. 2563)

น้ำกำลังลง

(พ.ย. – ธ.ค. 2563)

น้ำลงต่ำสุด 

(ม.ค. – ก.พ. 2564)

ฤดูน้ำกำลังขึ้น

(มิ.ย. – ก.ค. 2564)

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด

(ส.ค. – ก.ย. 2564)

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด

(ก.ย. – ต.ค. 2565)

ฤดูน้ำแล้ง

(ก.พ. – มี.ค. 2566)

ค่าเฉลี่ย±SD
บ้านสบกก ต.บ้านแซว อ.เชียงแสน เชียงราย 2.85 1.86 3.01 2.18 1.23 2.369 0.992 2.070±0.76
บ้านเชียงคาน ต.เชียงคาน อ.เชียงคาน เลย 2.16 1.91 3.23 1.04  2.78 2.463 2.117 2.242±0.69
บ้านภูเขทอง ต.บ้านม่วง อ.สังคม หนองคาย 1.47 2.43 3.01 1.47 2.37 2.160 1.411 2.045±0.61
บ้านบุ่งคล้า ต.บุ่งคล้า อ.บุ่งคล้า บึงกาฬ 3.05 3.13 2.98 1.00 2.96 2.285 1.396 2.401±0.87
บ้านไชยบุรี ต.ไชยบุรี อ.ท่าอุเทน** นครพนม 1.87 3.24 2.83 1.25 2.24 2.130 2.491 2.292±0.64
บ้านท่าไค้-นาแล  อ.เมืองมุกดาหาร มุกดาหาร 3.20 3.10 3.13 2.68 2.22 2.796 1.465 2.658±0.62
ปากแม่น้ำถม ต.โคกก่ง อ.ชานุมาน อำนาจเจริญ 2.44 1.84 2.72 1.36 2.75 2.931 1.029 2.152±0.74
หาดชมดาว บ้านนาตาล อ.นาตาล อุบลราชธานี 3.13 3.00 3.60 1.86 2.25 3.423 0.891 2.592±0.97
ค่าเฉลี่ย±SD 2.521±0.64bc 2.564±0.62bc 3.064±0.27c 1.605±0.59a 2.351±0.54b 2.570±0.45bc 1.474±0.56a

 

ตารางที่ 12 การวิเคราะห์ค่าดัชนีความเท่าเทียม (Evenness index: EI) ปี พ.ศ. 2563-2565

พื้นที่ โครงการปี พ.ศ. 2563 โครงการปี พ.ศ. 2564 โครงการปี พ.ศ. 2565
ฤดูน้ำหลาก

(ก.ย – ต.ค. 2563)

น้ำกำลังลง

(พ.ย. – ธ.ค. 2563)

น้ำลงต่ำสุด 

(ม.ค. – ก.พ. 2564)

ฤดูน้ำกำลังขึ้น

(มิ.ย. – ก.ค. 2564)

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด

(ส.ค. – ก.ย. 2564)

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด

(ก.ย. – ต.ค. 2565)

ฤดูน้ำแล้ง

(ก.พ. – มี.ค. 2566)

ค่าเฉลี่ย±SD
บ้านสบกก ต.บ้านแซว อ.เชียงแสน เชียงราย 0.897 0.632 0.960 0.663 0.392  0.756 0.554 0.638±0.31
บ้านเชียงคาน ต.เชียงคาน อ.เชียงคาน เลย 0.798 0.674 1.003 0.377 0.776 0.747 0.747 0.732±0.19
บ้านภูเขทอง ต.บ้านม่วง อ.สังคม หนองคาย 0.638 0.765 0.854 0.558  0.758  0.798 0.488 0.586±0.29
บ้านบุ่งคล้า ต.บุ่งคล้า อ.บุ่งคล้า บึงกาฬ 0.888 0.867 1.100 0.335 0.666 0.584 0.459 0.699±0.26
บ้านไชยบุรี ต.ไชยบุรี อ.ท่าอุเทน** นครพนม 0.674 0.904 0.784 0.412 0.625 0.711 0.832 0.706±0.16
บ้านท่าไค้-นาแล  อ.เมืองมุกดาหาร มุกดาหาร 0.923 1.248 0.998 0.796 0.452  0.800 0.445 0.744±0.41
ปากแม่น้ำถม ต.โคกก่ง อ.ชานุมาน อำนาจเจริญ 0.951 0.837 1.238 0.413 0.844 0.911 0.429 0.803±0.29
หาดชมดาว บ้านนาตาล อ.นาตาล อุบลราชธานี 0.880 0.866 1.246 0.586 0.544 0.922 0.406 0.779±0.29
ค่าเฉลี่ย±SD 0.831±0.11bc 0.849±0.19bc 1.023±0.17c 0.518±0.16a 0.432±0.36a 0.779±0.1b 0.545±0.15a

 

ตารางที่ 13 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ค่าดัชนีความมากชนิดของสัตว์น้ำปี พ.ศ. 2563-2564

พื้นที่ โครงการปี พ.ศ. 2563 โครงการปี พ.ศ. 2564 โครงการปี พ.ศ. 2565
ฤดูน้ำหลาก

(ก.ย – ต.ค. 2563)

น้ำกำลังลง

(พ.ย. – ธ.ค. 2563)

น้ำลงต่ำสุด 

(ม.ค. – ก.พ. 2564)

ฤดูน้ำกำลังขึ้น

(มิ.ย. – ก.ค. 2564)

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด

(ส.ค. – ก.ย. 2564)

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด

(ก.ย. – ต.ค. 2565)

ฤดูน้ำแล้ง

(ก.พ. – มี.ค. 2566)

ค่าเฉลี่ย±SD
บ้านสบกก ต.บ้านแซว อ.เชียงแสน เชียงราย 4.72 3.19 4.75 5.20 3.57 4.587 1.177 3.88±1.38
บ้านเชียงคาน ต.เชียงคาน อ.เชียงคาน เลย 2.81 2.70 4.89 2.61 6.48 4.657 2.866 3.86±1.50
บ้านภูเขทอง ต.บ้านม่วง อ.สังคม หนองคาย 1.70 3.92 6.29 2.41 3.73 2.924 2.346 3.49±1.60
บ้านบุ่งคล้า ต.บุ่งคล้า อ.บุ่งคล้า บึงกาฬ 5.51 6.43 3.00 3.34 6.31 7.290 3.260 5.02±1.78
บ้านไชยบุรี ต.ไชยบุรี อ.ท่าอุเทน** นครพนม 2.84 6.84 5.61 3.53 6.89 5.186 3.446 5.14±1.69
บ้านท่าไค้-นาแล  อ.เมืองมุกดาหาร มุกดาหาร 5.34 2.15 3.89 5.97 6.29 6.595 4.118 4.91±1.59
ปากแม่น้ำถม ต.โคกก่ง อ.ชานุมาน อำนาจเจริญ 2.67 2.17 2.04 4.75 5.03 7.552 1.618 3.69±2.17
หาดชมดาว บ้านนาตาล อ.นาตาล อุบลราชธานี 5.72 5.42 3.18 4.17 6.88 8.724 1.482 5.08±2.39
ค่าเฉลี่ย±SD 3.91±1.57a 4.10±1.89ab 4.20±1.43ab 4.34±1.23ab 5.65±1.36bc 5.94±1.92c 2.54±1.06a

 

ตารางที่ 14 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ค่าความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์น้ำปี พ.ศ. 2563-2565

พื้นที่ โครงการปี พ.ศ. 2563 โครงการปี พ.ศ. 2564 โครงการปี พ.ศ. 2565
ฤดูน้ำหลาก

(ก.ย – ต.ค. 2563)

น้ำกำลังลง

(พ.ย. – ธ.ค. 2563)

น้ำลงต่ำสุด 

(ม.ค. – ก.พ. 2564)

ฤดูน้ำกำลังขึ้น

(มิ.ย. – ก.ค. 2564)

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด

(ส.ค. – ก.ย. 2564)

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด

(ก.ย. – ต.ค. 2565)

ฤดูน้ำแล้ง

(ก.พ. – มี.ค. 2566)

ค่าเฉลี่ย±SD
บ้านสบกก ต.บ้านแซว อ.เชียงแสน เชียงราย 6.00 3.20 5.58 1.67 15.21 4.07 0.84 5.22±4.79a
บ้านเชียงคาน ต.เชียงคาน อ.เชียงคาน เลย 2.36 2.56 1.83 14.37 7.07 10.74 5.82 6.39±4.74a
บ้านภูเขทอง ต.บ้านม่วง อ.สังคม หนองคาย 5.44 2.72 7.05 3.87 2.03 2.78 19.72 8.17±10.01ab
บ้านบุ่งคล้า ต.บุ่งคล้า อ.บุ่งคล้า บึงกาฬ 9.24 11.36 3.83 11.4 20.04 17.77 9.08 15.63±5.79ab
บ้านไชยบุรี ต.ไชยบุรี อ.ท่าอุเทน** นครพนม 10.72 22.84 56.16 6.28 18.39 5.69 7.08 18.17±17.98b
บ้านท่าไค้-นาแล  อ.เมืองมุกดาหาร มุกดาหาร 6.76 4.40 7.17 1.84 19.36 11.98 12.55 9.15±5.90ab
ปากแม่น้ำถม ต.โคกก่ง อ.ชานุมาน อำนาจเจริญ 2.12 1.48 0.70 2.34 4.21 1.98 2.12 2.14±1.06a
หาดชมดาว บ้านนาตาล อ.นาตาล อุบลราชธานี 7.24 8.76 2.12 7.49 14.35 5.64 0.88 6.64±4.46a
ค่าเฉลี่ย±SD 3.91±1.57a 5.87±3.24 7.21±8.06 12.26±21.65 5.67±4.92 12.58±7.14 7.58±5.44 7.26±6.51

 

ตารางที่ 15 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ค่าความชุกชุมของสัตว์น้ำปี พ.ศ. 2563-2565

พื้นที่ โครงการปี พ.ศ. 2563 โครงการปี พ.ศ. 2564 โครงการปี พ.ศ. 2565
ฤดูน้ำหลาก

(ก.ย – ต.ค. 2563)

น้ำกำลังลง

(พ.ย. – ธ.ค. 2563)

น้ำลงต่ำสุด 

(ม.ค. – ก.พ. 2564)

ฤดูน้ำกำลังขึ้น

(มิ.ย. – ก.ค. 2564)

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด

(ส.ค. – ก.ย. 2564)

ฤดูน้ำขึ้นสูงสุด

(ก.ย. – ต.ค. 2565)

ฤดูน้ำแล้ง

(ก.พ. – มี.ค. 2566)

ค่าเฉลี่ย±SD
บ้านสบกก ต.บ้านแซว อ.เชียงแสน เชียงราย 468 412 336 592 1,908 1,172 280 738.27±595.69
บ้านเชียงคาน ต.เชียงคาน อ.เชียงคาน เลย 520 320 432 1,244 888 1,308 1,064 825.14±402.58
บ้านภูเขทอง ต.บ้านม่วง อ.สังคม หนองคาย 748 368 740 876 380 624 5,616 1336.00±1896.87
บ้านบุ่งคล้า ต.บุ่งคล้า อ.บุ่งคล้า บึงกาฬ 744 1,120 308 1,188 2,644 4,060 1,848 1701.71±1286.64
บ้านไชยบุรี ต.ไชยบุรี อ.ท่าอุเทน** นครพนม 708 928 1,988 1,152 644 888 992 1042.86±450.21
บ้านท่าไค้-นาแล  อ.เมืองมุกดาหาร มุกดาหาร 1,232 208 732 436 5,108 1,248 2,208 1596.00±1682.30
ปากแม่น้ำถม ต.โคกก่ง อ.ชานุมาน อำนาจเจริญ 92 72 112 948 576 312 1,936 578.29±678.38
หาดชมดาว บ้านนาตาล อ.นาตาล อุบลราชธานี 844 528 272 1,000 1,792 460 884 825.72±499.46
ค่าเฉลี่ย±SD 3.91±1.57a 4.10±1.89ab 4.20±1.43ab 4.34±1.23ab 5.65±1.36bc 5.94±1.92c 2.54±1.06a

 

           5) การศึกษาค่าดัชนีทางชีววิทยา จากการสำรวจชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาในแม่น้ำโขง ในปี พ.ศ. 2565 พบปลาที่มีไข่จำนวน 14 ชนิด โดยพบว่า ปลาส่วนใหญ่มีการสืบพันธุ์วางไข่ในระหว่างเดือนกันยายนถึงเดือนมีนาคม จากการสำรวจปลาทั้งสิ้น 35 ตัว และจากการศึกษาระหว่างปี ปี พ.ศ. 2560-2565 พบว่า ปลาส่วนใหญ่    มีการสืบพันธุ์วางไข่ในระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม จากการสำรวจปลาทั้งสิ้น 116 ตัว พบว่าปลา               จะมีไข่ในเดือนมิถุนายนพบไข่มากที่สุด คือ 38.27% รองลงมาคือ เดือนพฤษภาคม กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ธันวาคม เมษายน และตุลาคม พบมีไข่ 23.46, 14.82, 11.11, 4.94, 3.70, 2.50 และ 1.24% ตามลำดับ

 ตารางที่ 16  การเปรียบเทียบค่า GSI ของปลาชนิดเดียวกันในแต่ละเดือน ระหว่างปี พ.ศ. 2560-2566

ปี พ.ศ. ชื่อชนิด ชื่อวิทยาศาสตร์ ระยะ มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม พื้นที่สำรวจ
2560 กดคัง Hemibagrus filamentus E 0 เลย
2560 กดเหลือง Hemibagrus spilopterus E 0 อุบลราชธานี
2560 กราย Chitala ornata F 0 นครพนม
2564 กราย Chitala ornata F 1.27 นครพนม
2564 กราย Chitala ornata F 1.4 นครพนม
2565 กราย Chitala ornata F 1.96 นครพนม
2565 กราย Chitala ornata F 1.31 นครพนม
2565 กราย Chitala ornata F 1.19 นครพนม
2565 กราย Chitala ornata F 1.15 นครพนม
2565 กราย Chitala ornata F 0.49 นครพนม
2566 กราย Chitala ornata F 1.07 นครพนม
2566 กราย Chitala ornata F 0.70 นครพนม
2560 กะทิง Mastacembelus favus E 0 บึงกาฬ
2560 กะทิง Mastacembelus favus E 0 อำนาจเจริญ
2565 หลดจุด Macrognathus siamensis F 0.23 มุกดาหาร
2566 หลดจุด Macrognathus siamensis F 2.19 อุบลราชธานี
2566 หลดจุด Macrognathus siamensis F 1.85 บึงกาฬ
2560 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides E 0 บึงกาฬ
2560 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 0 นครพนม
2560 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides E 0 อำนาจเจริญ
2562 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 3.81 หนองคาย
2562 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 4.11 เชียงราย
2565 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 5.33 มุกดาหาร
2565 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 3.35 มุกดาหาร
2566 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 8.46 อุบลราชธานี
2566 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 8.75 บึงกาฬ
2566 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 5.34 บึงกาฬ
2566 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 6.99 บึงกาฬ
2566 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 8.37 บึงกาฬ
2566 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 0.29 บึงกาฬ
2566 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 0.99 บึงกาฬ
2566 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 8.96 เลย
2566 กะทุงเหว Xenentodon cf. Canciloides F 8.58 เลย
2564 กะมัง Puntioplites proctozystron F 14.65 นครพนม
2560 กาดำ Labeo chrysophaekadion S 0 เชียงราย
2560 กาดำ Labeo chrysophaekadion F 0 เชียงราย
2560 กาดำ Labeo chrysophaekadion F 0 อุบลราชธานี
2561 กาดำ Labeo chrysophaekadion 0 0.21 นครพนม
2561 กาดำ Labeo chrysophaekadion F 1.34 มุกดาหาร
2561 กาดำ Labeo chrysophaekadion S 13.71 นครพนม
2563 กาดำ Labeo chrysophaekadion F 20.75 อุบลราชธานี
2564 กาดำ Labeo chrysophaekadion F 25 นครพนม
2564 กาดำ Labeo chrysophaekadion F 12.67 อุบลราชธานี
2565 กาดำ Labeo chrysophaekadion F 13.33 มุกดาหาร
2562 กาแดง Epalzeorhynchos frenatum S 22.15 นครพนม
2560 แขยงใบข้าว Mystus singaringan E 0 บึงกาฬ
2560 แขยงใบข้าว Mystus singaringan F 0 บึงกาฬ
2560 เค้าขาว Wallago attu F 0 เชียงราย
2562 เค้าขาว Wallago attu S 14 บึงกาฬ
2565 เค้าขาว Wallago attu F 2.67 เชียงราย
2560 โจกเขียว Cosmochilus harmandi S 0 หนองคาย
2564 โจกเขียว Cosmochilus harmandi F 16 นครพนม
2564 โจกเขียว Cosmochilus harmandi F 7.5 เลย
2565 โจกเขียว Cosmochilus harmandi F 2.43 มุกดาหาร
2564 ซวยเสาะ Pangasius krempfi F 10 อุบลราชธานี
2564 ซวยเสาะ Pangasius krempfi F 6 อุบลราชธานี
2564 ซวยเสาะ Pangasius krempfi F 10 อุบลราชธานี
2560 ดังแดง Phalacronotus bleekeri E 0 มุกดาหาร
2560 ดังแดง Phalacronotus bleekeri F 0 อุบลราชธานี
2564 ดุกมูน Bagrichthys obscurus F 15 อุบลราชธานี
2564 ดุกมูน Bagrichthys obscurus F 14.28 มุกดาหาร
2564 ดุกมูน Bagrichthys obscurus F 8.33 มุกดาหาร
2565 ดุกมูน Bagrichthys obscurus F 25.00 อุบลราชธานี
2565 ดุกมูน Bagrichthys obscurus F 22.86 อุบลราชธานี
2565 ดุกมูน Bagrichthys obscurus F 26.67 อุบลราชธานี
2560 แดง Hemisilurus mekongensis E 0 หนองคาย
2560 ตะเพียนขาว Barbonymus gonionotus F 0 นครพนม
2562 ตะเพียนขาว Barbonymus gonionotus E 2.23 นครพนม
2562 ตะเพียนขาว Barbonymus gonionotus S 12.93 หนองคาย
2560 ตะเพียนทอง Barbonymus altus F 0 หนองคาย
2564 เทโพ Pangasius larnaudii F 4 อุบลราชธานี
2564 เทโพ Pangasius larnaudii F 3.75 อุบลราชธานี
2564 เทโพ Pangasius larnaudii F 6.25 เลย
2560 น้ำฝาย Sikukia gudgeri E 0 เชียงราย
2564 บึก Pangasianodon gigas F 14 อุบลราชธานี
2562 บู่ทราย Oxyeleotris marmoratus 0 0.27 หนองคาย
2563 ปากเปลี่ยน Scaphognathops bandanensis F 13.04 นครพนม
2560 เผาะ Pangasius conchophilus F 0 เชียงราย
2560 เผาะ Pangasius conchophilus F 0 บึงกาฬ
2560 เผาะ Pangasius conchophilus F 0 มุกดาหาร
2562 เผาะ Pangasius conchophilus F 5.29 อุบลราชธานี
2562 เผาะ Pangasius conchophilus 0 0 อุบลราชธานี
2563 เผาะ Pangasius conchophilus F 10 นครพนม
2564 เผาะ Pangasius conchophilus F 20 นครพนม
2564 เผาะ Pangasius conchophilus F 12 นครพนม
2564 เผาะ Pangasius conchophilus F 12.5 นครพนม
2564 เผาะ Pangasius conchophilus F 3.24 นครพนม
2564 เผาะ Pangasius conchophilus F 3.24 นครพนม
2564 เผาะ Pangasius conchophilus F 5.29 นครพนม
2566 เผาะ Pangasius conchophilus F 4.56 นครพนม
2562 ยาง Pangasius bocourti F 7 นครพนม
2564 ยาง Pangasius bocourti F 3.75 นครพนม
2563 ยี่สกไทย Probarbus jullieni F 7.76 อุบลราชธานี
2564 ยี่สกไทย Probarbus jullieni F 3.68 นครพนม
2564 ยี่สกไทย Probarbus jullieni F 5.28 นครพนม
2562 รากกล้วยด่าง Acantopsis rungthipae S 5.11 บึงกาฬ
2566 รากกล้วยจุด Acantopsis dinema  F 0.65 บึงกาฬ
2561 สร้อยลูกกล้วย Labiobarbus siamensis F 17.53 บึงกาฬ
2564 สร้อยลูกกล้วย Labiobarbus siamensis F 20.84 อุบลราชธานี
2564 สร้อยลูกกล้วย Labiobarbus siamensis F 16.52 อุบลราชธานี
2566 สร้อยลูกกล้วย Labiobarbus siamensis F 0.32 บึงกาฬ
2562 สร้อยหลอด Henicorhynchus lobatus S 7.28 เลย
2564 สร้อยหลอด Henicorhynchus lobatus F 20.09 นครพนม
2560 สลาด Notopterus notopterus F 0 หนองคาย
2560 สลาด Notopterus notopterus F 0 บึงกาฬ
2564 สังกะวาดท้องคม Pangasius pleurotaenia F 16.67 เลย
2564 สังกะวาดท้องคม Pangasius pleurotaenia F 15.51 เลย
2564 สังกะวาดท้องคม Pangasius pleurotaenia F 13.07 เลย
2564 สังกะวาดท้องคม Pangasius pleurotaenia F 16.67 เลย
2564 สังกะวาดท้องคม Pangasius pleurotaenia F 16.67 เลย
2564 สังกะวาดท้องคม Pangasius pleurotaenia F 15.67 เลย
2564 สังกะวาดท้องคม Pangasius pleurotaenia F 17.42 เลย
2564 สังกะวาดท้องคม Pangasius pleurotaenia F 17.12 เลย
2560 สังกะวาดเหลือง Pangasius macronema F 0 หนองคาย
2560 สังกะวาดเหลือง Pangasius macronema E 0 หนองคาย
2560 หนามหลัง Mystacoleucus marginatus V 0 บึงกาฬ
2560 หนามหลัง Mystacoleucus marginatus E 0 บึงกาฬ
2560 หนามหลัง Mystacoleucus marginatus E 0 บึงกาฬ
2560 อ้าว Luciosoma bleeker E 0 บึงกาฬ
2566 เสือตอลายเล็ก Datnioides undecimradiatus F 13.81 อุบลราชธานี
2566 หมากผาง Tenualosa thibaudeaui  F 20.25 เลย
2566 เสือพ่นน้ำ Toxotes microlepis F 0.09 อุบลราชธานี
2566 เสือพ่นน้ำ Toxotes microlepis F 0.06 อุบลราชธานี
2566 เข็มหม้อ Dermogenys pusilla F 5.56 เชียงราย

หมายเหตุ: 0 หมายถึง โครงการปี พ.ศ. 2560 ไม่มีการหาค่า GSI แต่เป็นเพียงการสำรวจปลาที่พบไข่เท่านั้น

  

ตารางที่ 17 การศึกษาค่าดัชนีความสมบูรณ์เพศ (Gonadosomatic index; GSI) ฤดูกาลน้ำขึ้นสูงสุดและฤดูกาลน้ำแล้ง ปี พ.ศ. 2565

พื้นที่ ชนิดปลา จำนวนปลาที่พบทั้งหมดในจุดที่ 

ศึกษา (ตัว)

น้ำหนักตัวปลา (กรัม)* น้ำหนักของรังไข่/ถุงน้ำเชื้อ (กรัม) * ระยะเจริญพันธุ์* ค่า GSI* ค่า GSI เฉลี่ยสูงสุด
ตลาดสี่แยกโนนเจริญ

อ.นาตาล จ.อุบลราชธานี

ดุกมูน

(Bagrichthys obscurus)

1 320 80 F 25.00 0.12-17.12

(เดือนมิถุนายน-กันยายน)1

ตลาดสี่แยกโนนเจริญ

อ.นาตาล จ.อุบลราชธานี

ดุกมูน

(Bagrichthys obscurus)

1 350 80 F 22.86 0.12-17.12

(เดือนมิถุนายน-กันยายน)1

ตลาดสี่แยกโนนเจริญ

อ.นาตาล จ.อุบลราชธานี

ดุกมูน

(Bagrichthys obscurus)

1 300 80 F 26.67 0.12-17.12

(เดือนมิถุนายน-กันยายน)1

บ้านท่าไค้-นาแล

อ.เมือง จ.มุกดาหาร

กาดำ

(Labeo chrysophaekadion)

1 3000 400 F 13.33 10.04 ± 0.76%

(เดือนกรกฎาคม)2

บ้านท่าไค้-นาแล

อ.เมือง จ.มุกดาหาร

กะทุงเหว

(Xenentodon cancilla)

1 46.9 2.5 F 5.33 5
บ้านท่าไค้-นาแล

อ.เมือง จ.มุกดาหาร

กะทุงเหว

(Xenentodon cancilla)

3 23.9 0.8 F 3.35 5
เชียงแสนน้อย อ.เชียงแสน

จ.เชียงราย

เค้าขาว

(Wallago attu)

1 3000 80 F 2.67 14.00

(เดือนพฤษภาคม)3

ตลาดสดวัฒนธรรมพรเพชร อ.เมือง จ.มุกดาหาร ตะกาก/โจกเขียว(Cosmocheilus harmandi) 1 3500 85.2 F 2.43 5
ตลาดสดเทศบาลเมืองนครพนม จ.นครพนม กราย

(Chitala ornata)

1 3000 58.8 F 1.96 5
ตลาดสดเทศบาลเมืองนครพนม จ.นครพนม กราย

(Chitala ornata)

1 2900 38.1 F 1.31 5
ตลาดสดเทศบาลเมืองนครพนม จ.นครพนม กราย

(Chitala ornata)

1 2500 29.7 F 1.19 5
ตลาดสดเทศบาลเมืองนครพนม จ.นครพนม กราย

(Chitala ornata)

1 3100 35.6 F 1.15 5
ตลาดสดเทศบาลเมืองนครพนม จ.นครพนม กราย

(Chitala ornata)

1 2800 13.6 F 0.49 5
บ้านท่าไค้-นาแล

อ.เมือง จ.มุกดาหาร

หลดจุด

(Macrognathus siamensis)

1 219 0.5 F 0.23 11.67±2.99

(เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม)4

ตลาดสดเทศบาลตำบล

บ้านด่าน อ.โขงเจียม

หลดจุด

(Macrognathus siamensis)

1 86.8 1.9 F 2.19 11.67±2.99

(เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม)4

อวนทับตลิ่ง

อ.บุ่งคล้า จ.บึงกาฬ

หลดจุด

(Macrognathus siamensis)

1 16.2 0.3 F 1.85 11.67±2.99

(เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม)4

ตลาดสดเทศบาลตำบล

บ้านด่าน อ.โขงเจียม

กะทุงเหว

(Xenentodon cancilla)

1 20.1 1.7 F 8.46 5
อวนทับตลิ่ง

อ.บุ่งคล้า จ.บึงกาฬ

กะทุงเหว

(Xenentodon cancilla)

1 37.7 3.3 F 8.75 5
อวนทับตลิ่ง

อ.บุ่งคล้า จ.บึงกาฬ

กะทุงเหว

(Xenentodon cancilla)

1 26.2 1.4 F 5.34 5
อวนทับตลิ่ง

อ.บุ่งคล้า จ.บึงกาฬ

กะทุงเหว

(Xenentodon cancilla)

1 47.2 3.3 F 6.99 5
อวนทับตลิ่ง

อ.บุ่งคล้า จ.บึงกาฬ

กะทุงเหว

(Xenentodon cancilla)

1 22.7 1.9 F 8.37 5
อวนทับตลิ่ง

อ.บุ่งคล้า จ.บึงกาฬ

กะทุงเหว

(Xenentodon cancilla)

1 17 0.05 F 0.29 5
อวนทับตลิ่ง

อ.บุ่งคล้า จ.บึงกาฬ

กะทุงเหว

(Xenentodon cancilla)

1 20.2 0.2 F 0.99 5
อวนทับตลิ่ง

อ.เชียงคาน จ.เลย

กะทุงเหว

(Xenentodon cancilla)

1 35.7 3.2 F 8.96 5
อวนทับตลิ่ง

อ.เชียงคาน จ.เลย

กะทุงเหว

(Xenentodon cancilla)

1 46.6 4 F 8.58 5
ตลาดสดเทศบาลตำบล

บ้านด่าน อ.โขงเจียม

เสือพ่นน้ำแม่โขง

(Toxotes microlepis)

1 31.8 0.03 F 0.09 5
ตลาดสดเทศบาลตำบล

บ้านด่าน อ.โขงเจียม

เสือพ่นน้ำแม่โขง

(Toxotes microlepis)

1 18 0.01 F 0.06 5
ตลาดสดเทศบาลเมืองนครพนม จ.นครพนม กราย

(Chitala ornata)

1 2,500 26.8 F 1.07 5
ตลาดสดเทศบาลเมืองนครพนม จ.นครพนม กราย

(Chitala ornata)

1 4,300 30.0 F 0.7 5
ตลาดสดเทศบาลเมืองนครพนม จ.นครพนม เผาะ

(Pangasius  conchophilus)

1 8,000 364.5 F 4.56 0.18±0.17

(เดือนเมษายน-มิถุนายน)6

อวนโอล่อนแก้ว

อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

เข็มหม้อ

(Dermogenys pusilla)

1 0.9 0.05 F 5.56 5
อวนทับตลิ่ง

อ.บุ่งคล้า จ.บึงกาฬ

รากกล้วยจุด

(Acantopsis dinema)

1 7.7 0.05 F 0.65 5
อวนทับตลิ่ง

อ.บุ่งคล้า จ.บึงกาฬ

สร้อยลูกกล้วย

(Labiobarbus siamensis)

1 15.8 0.05 F 0.32 5
มอง/ข่าย

อ.ปากชม จ.เลย

หมากผาง

(Tenualosa thibaudeaui)

1 160 32.4 F 20.25 5
มอง/ข่าย หาดชมดาว

อ.นาตาล จ.อุบลราชธานี

เสือตอลายเล็ก

(Datnioides undecimradiatus)

1 204.2 28.2 F 13.81 5

หมายเหตุ: V = Virgin, E = Early-mid Development, F = Full Development, S = Spent

* เลือกปลาชนิดละ 1 ตัวมาศึกษาระยะเจริญพันธุ์ ** การศึกษาถุงน้ำเชื้อ

1 ชีววิทยาบางประการของปลาดุกมลในแม่น้ำมูลจังหวัดอุบลราชธานี (จามิกร, 2547)

2 รายงานการศึกษาดรรชนีความสมบูรณ์เพศของปลาบางชนิดในแม่น้ำโขง (ธงชัย และคณะ, 2545)

3 โครงการศึกษาผลกระทบและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนจากโครงการไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

4การศึกษาชีววิทยาการขยายพันธุบางประการของปลาหลด (Macrognathus siamensis) ในกรณีศึกษาจังหวัดสุรินทร์และบุรีรัมย์ (กฤติมา เสาวกูล และ สำเนาว์ เสาวกูล, 2557)

5 ยังไม่พบข้อมูลอ้างอิง

6 ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาเผาะ (Pangasius bocourti Sauvage, 1880) ในแม่น้ำโขง บริเวณจังหวัดหนองคาย (ฉัตรชัย ปรีชา, ทวนทอง จุฑาเกตุ และธนิษฐา ทรรพนันทน์ ใจดี, 2554)

 

            6) การทำประมง  พบว่าในปี พ.ศ. 2565 ชาวประมงมีการจับปลาน้อยลง เพราะจับปลาได้น้อยน้อยกว่าปกติ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพน้ำที่ขึ้นลงไม่ปกติ ระดับน้ำน้อย และน้ำใสกว่าปกติจึงทำให้จับปลาได้น้อยลง

            7) จากการศึกษาสถานภาพการเลี้ยงปลาในกระชังของพื้นที่ 8 จังหวัด ในปี พ.ศ. 2565 พบปลาจำนวน 7 ชนิด คือ ปลานิล (Oreochromis niloticus) ปลาเผาะ (Pangasius conchophilus) ปลากดเหลือง (Hemibagrus filamentus) ปลากดหลวง (Ictalurus punctatus) ปลาทับทิม (Oreochromis niloticus) ปลาสังกะวาด (Pangasius macronema) และปลาสวาย (Pangasianodon hypophthalmus) และพบว่ามีจำนวนกระชังและพื้นที่การเลี้ยงเพิ่มสูงมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2561 และ 2563 โดยพื้นที่จังหวัดหนองคาย นครพนมและมุกดาหารมีจำนวนกระชังและพื้นที่การเลี้ยงมากที่สุด แสดงให้เห็นว่าความต้องการบริโภคสัตว์น้ำของประชาชนมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้น และการเลี้ยงปลาในกระชังอาจเป็นอีกทางเลือกหนึ่งจากการทำประมง  ในแม่น้ำโขงเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านี้และสามารถบ่งชี้ได้ถึงสถานภาพทางเศรษฐกิจการเลี้ยงปลาในกระชังริมฝั่งแม่น้ำโขงอีกอย่างหนึ่งได้ ถึงแม้ช่วงโรคระบาดโควิด-19 จะทำให้ปลาราคาถูกลงมาก

            8) จากการประเมินความเสี่ยงของพื้นที่ ที่มีความสำคัญด้านประมงและนิเวศวิทยาทางน้ำ พบว่าพื้นที่ ที่มีระดับความสำคัญสูงจำนวน 13 พื้นที่ ได้แก่ อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย อำเภอเชียงคานและอำเภอปากชม จังหวัดเลย อำเภอศรีเชียงใหม่และอำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ อำเภอธาตุพนมและอำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม อำเภอเมืองมุกดาหารและดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร อำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญ อำเภอนาตาล และอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งพื้นที่เหล่านี้มีความสำคัญด้านประมงและนิเวศวิทยาทางน้ำครบทั้ง 3 ด้าน คือ บริเวณที่เป็นแหล่งจับคู่ผสมพันธุ์ บริเวณที่มีการประกอบอาชีพประมงหรือเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และบริเวณที่พบชนิดปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ จากการศึกษานี้สามารถบ่งชี้ได้ถึงพื้นที่ที่มีความสำคัญด้านประมงและนิเวศวิทยาทางน้ำและควรเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิดหรือควรกำหนดนโยบายเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรต่อไป

ตารางที่ 18 พื้นที่ที่มีระดับแนวโน้มได้รับความเสี่ยงด้านการประมงและนิเวศวิทยาทางน้ำเบื้องต้นตามเกณฑ์การประเมินทั้ง 3 ด้าน ในแม่น้ำโขงสายประธาน ปี พ.ศ. 2563-2565

จังหวัด อำเภอ เกณฑ์ประเมินความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ
1) บริเวณที่พบแหล่งจับคู่ผสมพันธุ์ เพาะพันธุ์วางไข่หรือเลี้ยงตัวอ่อนสัตว์น้ำ 2) บริเวณที่มีการประกอบอาชีพเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 3) บริเวณที่มีการประมงและพบชนิดปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ****
เชียงราย เชียงแสน พบ ไม่มี มี/พบ
เชียงของ พบ* มี มี/พบ
เวียงแก่น ไม่มีข้อมูล มี มี/พบ
เลย เชียงคาน พบ มี มี/พบ
ปากชม พบ มี มี/พบ
หนองคาย สังคม พบ ไม่มี มี/พบ
ศรีเชียงใหม่ พบ** มี มี/พบ
ท่าบ่อ ไม่มีข้อมูล มี มี/พบ
เมืองหนองคาย พบ มี มี/พบ
โพนพิสัย ไม่มีข้อมูล ไม่มี มี/พบ
รัตนวาปี ไม่มีข้อมูล ไม่มี มี/พบ
บึงกาฬ ปากคาด ไม่มีข้อมูล ไม่มี มี/พบ
เมืองบึงกาฬ พบ มี มี/พบ
บุ่งคล้า พบ ไม่มี มี/พบ
บึงโขงหลง ไม่มีข้อมูล ไม่มี มี/พบ
นครพนม บ้านแพง ไม่มีข้อมูล มี มี/พบ
ท่าอุเทน พบ** มี มี/พบ
เมืองนครพนม ไม่มีข้อมูล มี มี/พบ
ธาตุพนม พบ มี มี/พบ
มุกดาหาร หว้านใหญ่ พบ** ไม่มี มี/พบ
เมืองมุกดาหาร พบ มี มี/พบ
ดอนตาล พบ*** มี มี/พบ
อำนาจเจริญ ชานุมาน พบ มี มี/พบ
อุบลราชธานี เขมราฐ ไม่มีข้อมูล มี มี/พบ
นาตาล พบ มี มี/พบ
โพธิ์ไทร พบ ไม่มี มี/พบ
ศรีเมืองใหม่ ไม่มีข้อมูล ไม่มี มี/พบ
โขงเจียม พบ** มี มี/พบ

หมายเหตุ: ที่มา  * MRC (2549)

** MRC (2552)

*** (สัมภาษณ์ชาวประมง)

**** ตารางชนิดปลาที่ได้จากการสำรวจตลาด ปีการศึกษา พ.ศ. 2563-2565

 

ตารางที่ 19 ผลการทบทวนพื้นที่ที่มีระดับความสำคัญสูง ด้านประมง และนิเวศวิทยา ปี พ.ศ. 2565

ตารางที่ 20 ผลการทบทวนพื้นที่ที่มีระดับความสำคัญสูง ด้านประมง และนิเวศวิทยา ปี พ.ศ. 2560-2565