เวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
เครือข่ายความร่วมมือ ปี 2566
การจัดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเผยแพร่ผลการศึกษา
ครั้งที่ 1 การประชุมการเริ่มงาน
เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2566
ณ โรงแรมรอยัลนาคาราและคอนเวนชั่นฮอล์ หนองคาย จังหวัดหนองคาย
- สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
- นำเสนอแผนงานการศึกษาโครงการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - รับฟังความเห็นและข้อเสนอแนะ
ลำดับ | หน่วยงาน | จำนวน (ท่าน) |
---|---|---|
1 | ผู้ดำเนินการจัดทำโครงการ – สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ และ คณะกรรมการกำกับด้านวิชาการ | 6 |
– คณะที่ปรึกษา | 7 | |
2 | หน่วยงานราชการในแต่ละจังหวัด – สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด – สำนักงานประมงจังหวัด – ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด – สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด – สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด – สถานศึกษา | 32 |
3 | เครือข่ายภาคประชาสังคม – จังหวัดเชียงราย | 5 |
– จังหวัดเลย | 5 | |
– จังหวัดหนองคาย | 10 | |
– จังหวัดบึงกาฬ | 3 | |
– จังหวัดนครพนม | 6 | |
– จังหวัดมุกดาหาร | 6 | |
– จังหวัดอำนาจเจริญ | 5 | |
รวม | 89 |
ข้อคิดเห็นและเสนอแนะจากการประชุม
ประเด็นข้อเสนอ-ข้อคิดเห็น | ผู้ให้ข้อคิดเห็น | การชี้แจงอธิบาย |
---|---|---|
ข้อเสนอด้านการเผยแพร่ข้อมูลจากการศึกษาวิจัยสู่ภาคประชาชนและระดับจังหวัด เพื่อรับฟังและสะท้อนความคิดเห็นจากชุมชนรวมกับฝ่ายวิชาการนำไปสู่การฟื้นฟูเยียวยาผลกระทบจากแม่น้ำโขงสายประธาน | ||
| นายอิทธิพล คำสุข | ผลการศึกษาของโครงการนี้จะนำไปสู่ระดับชุมชนและจังหวัด เพื่อผ่านกลไก พรบ.น้ำ และขอความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐ และท้องถิ่น เพื่อให้ข้อมูลจากการศึกษาส่งผลกระทบในเชิงบวกสู่ประชาชน เกิดการกระตุ้นให้ภาคประชาชนในพื้นที่รับทราบว่ามีส่วนในการผลักดันการเสนอกำหนดนโยบายในมาตรการฟื้นฟูและบรรเทาผลกระทบ และทาง สทนช. จะนำความเห็นไปใช้ในการศึกษา ทั้งนี้ทาง สทนช. สามารถผลักดันผลการศึกษาผ่านทาง MRC และให้มีการประชุมถ่ายทอดผลการศึกษาในระดับจังหวัดต่อไป |
| นายพิฐิพัสจ์ พวงพันธ์ | |
| นายอภิชาติ หงษาวงษ์ | |
| นายอิทธิพล คำสุข |
ประเด็นข้อเสนอ-ข้อคิดเห็น | ผู้ให้ข้อคิดเห็น | การชี้แจงอธิบาย |
---|---|---|
2) ข้อเสนอการศึกษาเรื่องปริมาณ/ความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ (ปัจจุบันเทียบกับในอดีต) มีการเปลี่ยนแปลง (เพิ่มขึ้น/ลดลง) อย่างไร สำหรับการลดลงถือเป็นการเกิดความสูญเสียเท่าใด และมีการมาตรการในการชดเชยอย่างไร | ||
| นายอิทธิพล คำสุข | ในการดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ทางคณะผู้ดำเนินงานได้มีการสำรวจและเก็บข้อมูลครอบคลุมพื้นที่เสี่ยง เพื่อประเมินแนวโน้มการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของทรัพยากรธรรมขาติในพื้นที่ และประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้น อีกทั้งยังมีการประเมินมูลค่าทางเศรษฐกิจของระบบนิเวศแม่น้ำโขงทั้งระบบ เพื่อประกอบการกำหนดมาตรการแก้ไขบรรเทาผลกระทบพื้นที่เสี่ยง จากความร่วมมือของทางภาครัฐและประชาชนริมแม่น้ำโขงสายประธาน |
| นายพิฐิพัสจ์ พวงพันธ์ |
ประเด็นข้อเสนอ-ข้อคิดเห็น | ผู้ให้ข้อคิดเห็น | การชี้แจงอธิบาย |
---|---|---|
3)ข้อเสนอด้านการศึกษาสาเหตุของผลกระทบที่เกิดขึ้นในแม่น้ำโขงสายประธานให้ครบทุกมิติ ทั้งจากการสร้างเขื่อนและการกระทำของมนุษย์ | ||
| นายวีระ วงศ์สุวรรณ | โครงการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบข้ามพรมแดน แต่จากการศึกษาพบว่ามีหลายปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อแม่น้ำโขง มิใช่เกิดจากการสร้างเขื่อนเพียงอย่างเดียว อันเกิดจากบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทางที่ปรึกษาจะรวบรวมและทบทวนข้อมูลทุติยภูมิให้เจาะจงมากยิ่งขึ้น เพื่อนำมาวิเคราะห์เพื่อหาข้อมูลและปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของแม่น้ำโขงสายประธานต่อไป
|
| นายทศพร อนุศรชัยศิริ | |
| นายนิพนธ์ มุลเมืองแสน | |
| นายสุภาพ มูลทากรม | |
| นายชาญชัย อังคณา | |
| ดร.รัชนี นามมาตย์ และนายอภิชาติ หงษาวงษ์
|
ประเด็นข้อเสนอ-ข้อคิดเห็น | ผู้ให้ข้อคิดเห็น | การชี้แจงอธิบาย |
---|---|---|
4) ข้อเสนอต่อแผนการลงพื้นที่ภาคสนามและการเก็บแบบสอบถามด้านเศรษฐกิจ-สังคม
| ||
| นายวีระ วงศ์สุวรรณ | ที่ปรึกษารับทราบข้อเสนอแนะ และจะนำไปปรับปรุงแบบสอบถามต่อไป
|
| ผู้แทนเครือข่าย 8 จังหวัด | ที่ปรึกษารับทราบข้อเสนอแนะ และเลื่อนการเก็บตัวอย่างปลาครั้งที่ 1 เป็นระหว่างวันที่ 7-17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
|
การจัดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเผยแพร่ผลการศึกษา ครั้งที่ 2
ครั้งที่ 2 การสรุปผลการศึกษา
เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2567
ณ โรงแรมเดอะริเวอร์ นครพนม จังหวัดนครพนม
- สรุปผลการศึกษาของโครงการ ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566 - การหารือและรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อแผนปฏิบัติการการป้องกันแก้ไข ติดตาม และปรับตัวต่อผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสังคมจากการพัฒนาเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน ระยะ 5 ปีที่ 3 (พ.ศ. 2567-2571)
ผู้เข้าร่วมประชุมรวมทั้งสิ้น 75 ท่าน โดยมีสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติและคณะกรรมการกำกับด้านวิชาการ จำนวน 9 ท่าน หน่วยงานราชการระดับจังหวัดและสถาบันการศึกษา จำนวน 13 ท่าน คณะที่ปรึกษาเข้าร่วมประชุม จำนวน 7 ท่าน และเครือข่ายภาคประชาสังคมเข้าร่วมประชุม จำนวน 50 ท่าน ดังนี้
ลำดับ | หน่วยงาน | จำนวน (ท่าน) |
---|---|---|
1 | ผู้ดำเนินการจัดทำโครงการ – สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ และ คณะกรรมการกำกับด้านวิชาการ | 9 |
– คณะที่ปรึกษา | 7 | |
2 | หน่วยงานราชการในแต่ละจังหวัด – สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด – สำนักงานประมงจังหวัด – ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด – สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด – สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด – สถานศึกษา | 9 |
3 | เครือข่ายภาคประชาสังคม – จังหวัดเชียงราย | 6 |
– จังหวัดเลย | 6 | |
– จังหวัดหนองคาย | 6 | |
– จังหวัดบึงกาฬ | 6 | |
– จังหวัดนครพนม | 6 | |
– จังหวัดมุกดาหาร | 6 | |
– จังหวัดอำนาจเจริญ | 6 | |
– จังหวัดอุบลราชธานี | 6 | |
รวม | 75 |
ข้อคิดเห็นและเสนอแนะจากการประชุม
|
ประเด็นข้อเสนอ-ข้อคิดเห็น | ผู้ให้ข้อคิดเห็น | การชี้แจงอธิบาย |
---|---|---|
2) ข้อเสนอแนะด้านการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและกิจกรรมในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง | ||
|
นายพิฐิพัสจ์ พวงพันธ์ | โครงการฯ มีการประชุมเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเผยแพร่ผลการศึกษาเพียง 2 ครั้ง (การเริ่มงานและสรุปผลการศึกษา) ซึ่งไม่ได้จัดในพื้นที่ทุกจังหวัด ทั้งนี้ ทางโครงการฯ ได้เปิดโอกาสให้จัดสรรงบประมาณเพื่ออำนวยความสะดวกให้ตัวแทนเครือข่ายภาคประชาสังคมในแต่ละจังหวัดได้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ อย่างไรก็ตาม ที่ปรึกษาจะรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของภาคประชาสังคมให้ทาง สทนช. พิจารณาสำหรับการดำเนินงานต่อไป
นางสาวศุภมาศ ปุณประเสริฐ |
|
นายสุภาพ มูลทากรม | |
|
นายบุญนาค จองธรรม | |
|
นายบุญนาค จองธรรม | |
|
นายสุริยา โคตะมี | |
|
นายพิฐิพัสจ์ พวงพันธ์ |
ประเด็นข้อเสนอ-ข้อคิดเห็น | ผู้ให้ข้อคิดเห็น | การชี้แจงอธิบาย |
---|---|---|
3) ข้อเสนอแนะด้านการสนับสนุนดำเนินโครงการต่าง ๆ เพื่อฟื้นฟูแม่น้ำโขงสายประธาน พัฒนาอาชีพให้แก่ประชาชนริมแม่น้ำโขงสายประธาน (ประมง เกษตรกรรม และการท่องเที่ยว) | ||
|
นางสาวศุภมาศ ปุณประเสริฐ | ที่ปรึกษาจะรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของภาคประชาสังคมให้ทาง สทนช. พิจารณาสำหรับการดำเนินงานต่อไป |
|
นายทศพร อนุศรชัยศิริ | |
|
นายพิฐิพัสจ์ พวงพันธ์ | |
|
นายสุริยา โคตะมี | |
|
นายอภิชาติ หงษาวงษ์ | |
|
นายพรรนา ราชิวงศ์ | |
|
นายสุภาพ มูลทากรม |
ประเด็นข้อเสนอ-ข้อคิดเห็น | ผู้ให้ข้อคิดเห็น | การชี้แจงอธิบาย |
---|---|---|
4)ข้อเสนอแนะด้านการบูรณาการผลการศึกษาผลกระทบในแผนปฏิบัติการระดับจังหวัด กลไกการดำเนินงาน เพื่อดำเนินการฟื้นฟูและเยียวยาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของแม่น้ำโขงสายประธานอย่างเป็นรูปธรรม | ||
|
นายพิฐิพัสจ์ พวงพันธ์ | ที่ปรึกษาจะรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของภาคประชาสังคมให้ทาง สทนช. พิจารณาสำหรับการดำเนินงานต่อไป |
|
นายพรรนา ราชิวงศ์ | |
|
นายสุภาพ มูลทากรม | |
|
นายบุญนาค จอมธรรม | |
|
นายอภิชาติ หงษาวงษ์ | |
|
นายพิฐิพัสจ์ พวงพันธ์ | |
|
นายพรรนา ราชิวงศ์ |
ประเด็นข้อเสนอ-ข้อคิดเห็น | ผู้ให้ข้อคิดเห็น | การชี้แจงอธิบาย |
---|---|---|
5)ข้อเสนอแนะด้านการประสานความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านเพื่อทำข้อตกลงในด้านการทำประมง | ||
|
ที่ปรึกษาจะรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของภาคประชาสังคมให้ทาง สทนช. พิจารณาสำหรับการดำเนินงานต่อไป | |
|
นายพรรนา ราชิวงศ์ | |
|
นายพรรนา ราชิวงศ์ |
ประเด็นข้อเสนอ-ข้อคิดเห็น | ผู้ให้ข้อคิดเห็น | การชี้แจงอธิบาย |
---|---|---|
6)ข้อเสนอแนะต่อแผนปฏิบัติการการป้องกันแก้ไข ติดตาม และปรับตัวต่อผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสังคมจากการพัฒนาเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน ระยะ 5 ปีที่ 3 (พ.ศ. 2567-2571) | ||
|
นายพรรนา ราชิวงศ์ | ที่ปรึกษาจะรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของภาคประชาสังคมไปปรับแผนปฏิบัติการการป้องกันแก้ไข ติดตาม และปรับตัวต่อผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสังคมจากการพัฒนาเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน ระยะ 5 ปีที่ 3 (พ.ศ. 2567-2571) และเสนอให้ทาง สทนช. พิจารณาสำหรับการดำเนินงานต่อไป |
|
นายทศพร อนุศรชัยศิริ | |
|
นายทศพร อนุศรชัยศิริ | |
ควรมีแผนรณรงค์การปล่อยน้ำเสียและสารเคมี กลุ่มการเกษตรที่เป็นพืชล้มลุกและพืชยืนต้น (ยางพารา) มีการใช้สารเคมี ทำให้สารเคมีตกค้างในดิน ซึ่งจะถูกชะล้างลงแม่น้ำโขง | นายทศพร อนุศรชัยศิริ | |
|
นายทศพร อนุศรชัยศิริ |